Post by Admin on Jul 31, 2013 16:25:30 GMT 7
มาพำนักอยู่ที่สุราษฎร์ฯ ได้พักใหญ่แล้ว ต่อเนื่องกับภารกิจ ธุรกิจ และร่วมมือร่วมใจดำเนินงานเรื่องสุขภาพ
ระหว่างมีเวลา ก็จัดเตรียมแนวทางสำหรับงานและการสื่อสารออนไลน์ให้มากขึ้น อย่างน้อยก็เพื่อรองรับอาเซียนที่กำลังจะมาถึง
** ข้อมูลทั้งหมดขอขอบคุณวิกิพีเดีย
สุราษฎร์ธานี Surat Thani
เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย
หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ
ผู้ว่าราชการ
นายฉัตรป้อง ฉัตรภูติ
(ตั้งแต่
พ.ศ. 2555)
พื้นที่
12,891.469 ตร.กม.(อันดับที่ 6)
ประชากร
1,023,288 คน (พ.ศ. 2555)(อันดับที่ 21)
ความหนาแน่น
79.38 คน/ตร.กม.(อันดับที่ 59)
ศูนย์ราชการ
ที่ตั้ง
ศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี ถนนดอนนก ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000
โทรศัพท์
(+66) 0 7727 2926
โทรสาร
(+66) 0 7728 2175
จังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า "สุราษฎร์" ใช้อักษรย่อ "สฎ" เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง
จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้
โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลายหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา
รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย
ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ
เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์มีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก
เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่นเกาะสมุย เกาะพะงัน และหมู่เกาะอ่างทอง
เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช
แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต
และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว
ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออก
เฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย
ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม
Surat Thani (often in short Surat, Thai: สุราษฎร์ธานี) former name Chaiya Province is the largest of the southern provinces (changwat) of Thailand, on the western shore of the Gulf of Thailand. Surat Thani means City of Good People, the title given to the city by King Vajiravudh (Rama VI).
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก
โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้
ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม
รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย
ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล
สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย
แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก
และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง
เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย
นอกจากนี้ ยังมีผลิตผล และผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวัด
ประวัติศาสตร์
จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นที่ตั้งของเมืองเก่า
เป็นศูนย์กลางของเมืองศรีวิชัย
มีหลักฐานแสดงถึงการตั้งรกรากและเส้นทางสายไหมในอดีต พื้นที่อ่าวบ้านดอนเจริญขึ้นจนเป็นอาณาจักรศรีวิชัยในช่วงหลังพุทธศตวรรษที่ 13 โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นเครื่องยืนยันความรุ่งเรืองในอดีต ภายหลังยังเชื่อว่า เมื่ออาณาจักรตามพรลิงก์หรือ
เมืองนครศรีธรรมราชมีความรุ่งเรืองมากขึ้นนั้น
เมืองไชยาก็เป็นหนึ่งในเมืองสิบสองนักษัตรของเมืองนครศรีธรรมราชด้วย
ชื่อว่า "เมืองบันไทยสมอ"
นอกจากนี้ในยุคใกล้เคียงกันนั้นยังพบความเจริญของเมืองที่เกิดขึ้นในบริเวณลุ่มแม่น้ำตาปี ได้แก่ เมืองเวียงสระ เมืองคีรีรัฐนิคม และเมืองท่าทอง
โดยเชื่อว่าเจ้าศรีธรรมาโศก
ผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราชนั้นอพยพย้ายเมืองมาจากเมืองเวียงสระ
เนื่องจากเป็นเมืองที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล รวมทั้งเกิดโรคภัยระบาด และเมื่อเมืองนครศรีธรรมราชเจริญรุ่งเรืองนั้น ได้ยกเมืองไชยา และเมืองท่าทอง เป็นเมืองสิบสองนักษัตรของตนด้วย
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งอู่เรื่อพระที่นั่งและเรือรบเพื่อใช้ในราชการที่อ่าวบ้านดอน ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงให้ย้ายที่ตั้งเมืองท่าทองมายังอ่าวบ้านดอน
(ซึ่งเป็นที่ตั้งของอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีในปัจจุบัน)
พร้อมทั้งยกฐานะให้เป็นเมืองจัตวา ขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร
และพระราชทานชื่อว่า "เมืองกาญจนดิษฐ์" โดยแต่งตั้งให้พระยากาญจนดิษฐ์บดีเป็นเจ้าเมืองดูแลการปกครอง
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้รวมเมืองกาญจนดิษฐ์ เมืองคีรีรัฐนิคม และเมืองไชยาเป็นเมืองเดียวกัน เรียกว่า "เมืองไชยา" ภายใต้สังกัดมณฑลชุมพร
เมื่อเมืองขยายใหญ่ขึ้น จึงมีการปรับเปลี่ยนการปกครองและขยายเมืองออกไป
มีการสร้างเมืองใหม่ขึ้นที่ อ่าวบ้านดอน ให้ชื่อเมืองใหม่ว่า อำเภอไชยา
และให้ชื่อเมื่องเก่าว่า "อำเภอพุมเรียง"
แต่เนื่องด้วยประชาชนยังติดเรียกชื่อเมืองเก่าว่า "อำเภอไชยา" ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานนามเมืองใหม่ที่บ้านดอนว่า "สุราษฎร์ธานี" และให้ชื่อเมืองเก่าว่า "อำเภอไชยา" และพระราชทานนามแม่น้ำตาปี ให้ในคราวเดียวกันนั้นเอง ซึ่งเป็นการตั้งชื่อตามแบบเมืองและแม่น้ำในประเทศอินเดียที่มีแม่น้ำตาปติไหลลงสู่ทะเลออกผ่านปากอ่าวที่เมือง สุรัฎร์
History
The area of Surat Thani was already inhabited in prehistoric times by Semang and Malayan tribes. Founded in the 3rd century, until the 13th century the Srivijaya kingdom dominated the Malay Peninsula. The city Chaiya
contains several ruins from Srivijaya times, and was probably a
regional capital of the kingdom. Some Thai historians even claim that it
was the capital of the kingdom itself for some time, but this is
generally disputed. Wiang Sa was another main settlement of that time.
After the fall of the Srivijaya it was divided into the cities (Mueang) Chaiya, Thatong (now Kanchanadit) and Khirirat Nikhom. While Chaiya was administrated directly from the capital, Thatong and Khirirat were controlled by the Nakhon Si Thammarat kingdom. In 1899 they were merged into one province named Chaiya. In 1915 also the court of the Monthon Chumphon was moved to Bandon, which received its new name Surat Thani on July 29, 1915 during a visit of King Vajiravudh
(Rama VI). The monthon was renamed to Surat accordingly. In 1926 it was
abolished and incorporated into monthon Nakhon Si Thammarat. In 1933
the monthon was dissolved, so the province became the first level
administrative subdivision.
The provincial administration was at first located in a building in
Tha Kham (Amphoe Phunphin). It was moved to the city of Surat Thani
directly at the shore of the Tapi river in World War II,
but when the Japanese invaded Thailand on December 8, 1941, and landed
in Surat Thani as well, the building caught fire during the short battle
and burned down. It was reopened in 1954. On March 19, 1982, it was
destroyed again by a bomb planted by communist rebels, killing 5 people.
A new building was built in the south of the city, the former site of
the provincial hall is now the city pillar shrine (Lak Mueang).
Administrative divisions
The province is subdivided into 19 districts (Amphoe), which are further subdivided into 131 subdistricts (tambon) and 1028 villages (muban).
Mueang Surat Thani
Kanchanadit
Don Sak
Ko Samui
Ko Pha-ngan
Chaiya
Tha Chana
Khiri Rat Nikhom
Ban Ta Khun
Phanom
Tha Chang
Ban Na San
Ban Na Doem
Khian Sa
Wiang Sa
Phrasaeng
Phunphin
Chai Buri
Vibhavadi
The province has one city (thesaban nakhon), 3 towns (thesaban mueang) and 24 subdistrict municipalities (thesaban tambon). The most important ones are the following 6 (complete list). There are also 109 tambon administrative authorities (TAO), responsible for the non-municipal areas.
Surat Thani City is also a center of the Surat Thani Metropolitan Area.
Population
Notes
1.
Surat Thani
เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
127,550
Capital of the province, Historic town, Tourism, Main bus station
2.
Ko Samui
เทศบาลเมืองเกาะสมุย
52,510
Tourism,
3.
Tha Kham
เทศบาลเมืองท่าข้าม
20,363
Main railway station, Airport.
4.
Na San
เทศบาลเมืองนาสาร
19,851
5.
Talat Chaiya
เทศบาลตำบลตลาดไชยา
12,955
Historic town.
6.
Don Sak
เทศบาลตำบลดอนสัก
11,357
Main port.
7.
Ko Pha-ngan
เทศบาลตำบลเกาะพะงัน
3,357
Tourism.
For the national elections, the province is subdivided into two
constituencies, both eligible to elect three members of parliament.
Geography
Provincial hall of Surat Thani
City pillar shrine in Surat Thani
Ruins of the Wat Kaew in Chaiya, dating from Srivijavan times
Neighboring provinces are (from north clockwise) Chumphon, Nakhon Si Thammarat, Krabi, Phang Nga and Ranong.
Geographically, the center of the province is the coastal plain of the Tapi river, mostly grassland interchanged with rubber tree and coconut plantings. In the west are limestone mountains of the Phuket range mostly covered with forests. The Khao Sok National Park is located in these mountains. To the east the hills of the Nakhon Si Thammarat (or Bantat) mountain range start to rise, protected in the Tai Rom Yen National Park. Many islands in the Gulf of Thailand belong to the district, including the tourist islands Ko Samui, Ko Pha-ngan and Ko Tao, as well as the Ko Ang Thong marine national park. The main rivers of the Surat Thani province are Tapi River and Phum Duang River, which join at the town Tha Kham shortly before they drain into the Bandon Bay. The delta of these rivers, locally known as Nai Bang
(ในบาง), is located directly north of the city Surat Thani. It consists
of several channels with small islands mostly covered by mangrove or orchards.
Further protected areas in the province are the Khlong Phanom and Kaeng Krung national park, Than Sadet-Ko Pha-Ngan marine national park, the non-hunting areas Khao Tha Phet and Nong Thung Thong and the wildlife sanctuaries Khlong Phraya, Khlong Saeng and Khlong Yan. The Hat Khanom - Mu Ko Thale Tai, which will contain a few small island south of Ko Samui, is currently in process of creation.
National park
Ko Ang Thong marine national park***
Khao Sok national park***
Khlong Phanom national park
Kaeng Krung national park
Than Sadet-Ko Pha-Ngan marine national park
Tai Rom Yen National Park
Economy
In the 2008 census, the province had a GPP of 132,637.3 million Baht (4,019.31 million US$) and GPP per capita of 134,427 (4,073.54 US$)[citation needed]
compared with a GPP of 122,398 million Baht (3,599.94 million US$) and
GPP per capita of 125,651 (3,695.62 US$) in the 2007 census, with a GPP
growth rate of 8.37% and per capita growth rate of 6.98%. The main
agricultural products of the province are coconut and rambutan. The coconuts are often picked from the tree by specially trained monkey, mostly Pig-tailed Macaques (Macaca nemestrina). The monkey school of late Somporn Saekhow
is the most famous training center for these monkeys. The rambutan
trees were first planted in Surat Thani in 1926 by the Chinese Malay Mr.
K. Vong in Ban Na San.
An annual rambutan fair is held in beginning of August, including a
parade of highly decorated floats on the Tapi river. Also rubber tree
planting are common in the province.
A notable local product is the hand-woven silk clothes from the
coastal village Phum Riang in Chaiya district. Chaiya is also the most
famous source of the red eggs, a local specialty. Ducks fed are with
crabs and fish, and the eggs are then preserved by salinating them in a
soil-salt mixture. Oysters from farms at the coast of Kanchanaburi
district are another local specialty.
Tourism is a major income at the four islands Ko Samui, Ko Pha Ngan, Ko Tao and Ko Ang Thong
Transportation
Rail
The province is crossed by the southern railway, with Surat Thani Railway Station located at Phunphin, about 15 km from downtown. A branch line to the west ends at Kirirat Nikhom Railway Station. It was originally planned to run to the coast next to the island of Phuket, but construction ended in 1956. In total there are 32 railway stations in Surat Thani province.
Road
Parallel to the railway in north-south direction runs the Asian Highway 2 (Thailand Route 41). The major road in east-west direction is Route 401 connecting Takua Pa with Nakhon Si Thammarat, and Route 44 in southwestern direction from Kanchanadit to Krabi.
Route 44 was built as part of the landbridge project connecting the
Gulf of Thailand with the Andaman Sea. Unlike other highways there are
no crossing intersections, the wide space between the two lanes is
reserved for pipeline and railway.
Air
Two regional airports are located in the province - Surat Thani International Airport in Phunphin and Samui Airport on Ko Samui. The Surat Thani International Airport is served by three airlines: Thai Airways International Thai AirAsia One-Two-Go Airlines from Don Mueang International Airport The Samui Airport is served by Bangkok Airways and Thai Airways International from Suvarnabhumi Airport, Hong Kong, Singapore, Kuala Lumpur, Phuket, Chiang Mai and Penang
Water
The islands Ko Samui und Ko Phan Ngan are connected with the mainland by ferries, which mostly start at Don Sak, while the ferries to Ko Tao start at Surat Thani or Ko Samui. (continued this page)
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ตราประจำจังหวัด คือ พระบรมธาตุไชยา ซึ่งมีศิลปะแบบศรีวิชัย ตั้งอยู่ ณ วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร โดยสร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 และเป็นสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วย
ต้นไม้ประจำจังหวัด ได้แก่ ต้นเคี่ยม (Cotylelobium melanoxylon)ตั้งอยู่อำเภอวิภาวดีดอกไม้ประจำจังหวัด ได้แก่ ดอกบัวผุด (Rafflesia kerrii) ตั้งอยู่อำเภอพนม
คำขวัญประจำจังหวัด ได้แก่ เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ
คำขวัญประจำจังหวัดในอดีต แต่งโดยพระเทพรัตนกวี (ก.ธรรมวร)
อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี: "สะตอวัดประดู่ พลูคลองยัน
ทุเรียนหวานมันคลองพระแสง ย่านดินแดงของป่า เคียนซาบ่อถ่านหิน
พุนพินมีท่าข้ามแม่น้ำตาปี ไม้แก้วดีเขาประสงค์ กระแดะดงลางสาด
สิ่งประหลาดอำเภอพนม เงาะอุดมบ้านส้อง จากและคลองในบาง ท่าฉางต้นตาล
บ้านนาสารแร่ ท่าทองอุแทวัดเก่า อ่าวบ้านดอนปลา ไชยาข้าว มะพร้าวเกาะสมุย"
ลักษณะรูปร่างของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ลักษณะรูปร่างของจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับ "ผีเสื้อที่กำลังกางปีกโบยบินอยู่"
เพลงประจำจังหวัด
สุราษฎร์ธานี รุ่งเรืองสมเมืองคนดี อีกธารตาปี นามพระธีรราชประทาน
เป็นแดนอุดมไม้ปลา มะพร้าวมาเนิ่นนาน เหล่าราษฎร์สุขศานต์
มุ่งมั่นขยันทำกิน มิ่งขวัญ ชาวเมือง มีองค์พระธาตุพุทธศาสน์ประเทือง
ถิ่นชนกตัญญูยิ่ง เมตตาอยู่อาจิณ ร่วมรักแผ่นดิน คนดี นี้ไชโย
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งและอาณาเขต
สภาพภูมิประเทศของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ และอันดับ 1 ของภาคใต้ โดยมีจังหวัดที่มีอาณาเขตติดกัน ดังนี้
ด้านเหนือ ติดกับจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร และอ่าวไทย
ด้านใต้ ติดกับจังหวัดกระบี่และจังหวัดนครศรีธรรมราช
ด้านตะวันออก ติดกับจังหวัดนครศรีธรรมราชและอ่าวไทย
ด้านตะวันตก ติดกับจังหวัดพังงา
โดยทะเลฝั่งอ่าวไทยนั้นมีชายฝั่งยาวประมาณ 156 กิโลเมตร โดยมีเกาะที่อยู่ภายใต้เขตการปกครองของจังหวัดฯ ได้แก่ เกาะสมุย เกาะพะงัน และหมู่เกาะอ่างทองและยังมีเกาะน้อยใหญ่อีกมากมาย จึงได้ชื่อว่าเมืองร้อยเกาะ เช่นเกาะนางยวน
ภูมิประเทศและภูมิอากาศ
จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่กว้างใหญ่ และมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย
ได้แก่ ภูมิประเทศแบบที่ราบชายฝั่งทะเล ที่ราบสูง
รวมทั้งภูมิประเทศแบบภูเขาซึ่งกินพื้นที่ของจังหวัดถึงร้อยละ 40
ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมีทิวเขาภูเก็ตทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ของจังหวัด และมีลุ่มน้ำที่สำคัญ คือ ลุ่มน้ำตาปี ไชยา ท่าทอง เป็นต้น
ด้านตะวันออกเป็นฝั่งทะเลอ่าวไทย และมีเกาะน้อยใหญ่ที่มีประชากรอาศัย ส่วนด้านตะวันตกมีลักษณะเป็นภูเขาสูง มีแม่น้ำสายสำคัญ คือ แม่น้ำตาปี
เนื่องจากทำเลที่ตั้งรวมถึงภูมิประเทศ จังหวัดสุราษฎร์ธานีจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย
รวมทั้งมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านอ่าวไทย ดังนั้น
จึงทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนยาวนานมาก
โดยกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมกราคม โดยจังหวัดสุราษฏร์ธานีมีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 21.16 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.51 องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 129.59 มิลลิเมตร
หน่วยการปกครอง
การปกครองส่วนภูมิภาค
จังหวัดสุราษฎร์ธานีแบ่งการปกครองออกเป็น 19 อำเภอ 131 ตำบล 1,028 หมู่บ้าน มีรายชื่ออำเภอดังนี้
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
อำเภอกาญจนดิษฐ์
อำเภอดอนสัก
อำเภอเกาะสมุย
อำเภอเกาะพะงัน
อำเภอไชยา
อำเภอท่าชนะ
อำเภอคีรีรัฐนิคม
อำเภอบ้านตาขุน
อำเภอพนม
อำเภอท่าฉาง
อำเภอบ้านนาสาร
อำเภอบ้านนาเดิม
อำเภอเคียนซา
อำเภอเวียงสระ
อำเภอพระแสง
อำเภอพุนพิน
อำเภอชัยบุรี
อำเภอวิภาวดี
รายพระนามและนามผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี
พระยาวรฤทธิ์ฤๅไชย
พระยาชุมพรบุรีศรีสมุทเขต
พระยาพิศาลสารเกษตร์
พระยาวิชิตภักดีศรีสุราษฎร์ธานินทร์
พระยาศรีมหาเกษตร
พระยาสุราษฎร์ธานี
พระบริบูรณ์วุฒิราษฎร์
หลวงสฤษฏสาราลักษณ์
หลวงอรรถกัลยาณวินิจ
นายชลอ จารุจินดา
หลวงเกษมประศาสน์
ขุนสำราษราษฎร์บริรักษ์
นายแม้น อรจันทร์
ขุนรัฐวุฒิวิจารณ์
นายเลื่อน ไขแสง
ขุนอักษรสารสิทธิ์
นายจันทร์ สมบูรณ์กุล
นายฉลอง รมิตานนท์
นายประพันธ์ ณ พัทลุง
นายพร บุญยะประสพ
นายคล้าย จิตพิทักษ์
นายอรุณ นาถะเดชะ
นายอนันต์ สงวนนาม
นายชลิต พิมลศิริ
นายกาจ รักษ์มณี
นายสนอง รอดโพธิ์ทอง
นายไสว ศิริมงคล
นายนิพนธ์ บุญญภัทโร
นายวิโรจน์ ราชรักษ์
นายดำริ วัฒนสิงหะ
นายอนุ สงวนนาม
นายประพัฒน์พงษ์ บำเพ็ญสิทธิ์
นายประยูร พรหมพันธุ์
นายปรีชา รักษ์คิด
นายนิเวศน์ สมสกุล
นายภุชงค์ รุ่งโรจน์
นายชาญชัย สุนทรมัฏฐ์
นายยงยุทธ ตะโกพร
ม.ล.ประทีป จรูญโรจน์
นายธีระ โรจนพรพันธุ์
นายวิจิตร วิชัยสาร
ดร.นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว
นายวินัย บัวประดิษฐ์
นายประชา เตรัตน์
นายดำริห์ บุญจริง
นายธีระยุทธ เอี่ยมตระกูล
นายเชิดศักดิ์ ชูศรี
นายฉัตรป้อง ฉัตรภูติ
ศูนย์ราชการในเขตจังหวัด
วิทยาลัยสารพัดช่างสุราษฎร์ธานี
สำนักงานจัดหางานจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสุราษฎร์ธานี
สำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานประปาเขต4 สุราษฎร์ธานี
สำนักงานคลังจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานประมงจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศูนย์พัฒนาประมงน้ำจืดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางสุราษฎร์ธานี
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดสุราษฎร์ธานี
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำสุราษฎร์ธานี
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สำนักทางหลวงกระบี่(สุราษฎร์ธานี)
ศูนย์วิจัยพันธุ์ยาง สุราษฎร์ธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 11
โรงพยาบาลมะเร็งสุราษฎร์ธานี
เศรษฐกิจ
การเกษตร
การประกอบอาชีพประมง
ประชากรในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีรายได้ต่อหัวเฉลี่ย 138,034 บาท ต่อปี
โดยส่วนมากจะประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทำนา ทำสวน ทำไร่
โดยใช้ที่ดินเพื่อทำการเพาะปลูกประมาณ 45% ของพื้นที่ทั้งหมด
ซึ่งพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว เงาะ ทุเรียน และกาแฟ[16]
นอกจากนั้น ยังมีการเลี้ยงปศุสัตว์และการทำประมง โดยปศุสัตว์ที่นิยมเลี้ยงกันมาก เช่น โค กระบือ สุกร ไก่ แพะ โดยปศุสัตว์ที่มีมูลค่าผลผลิตมากที่สุด คือ โค สุกร ไก่ กระบือ และเป็ดตามลำดับ ส่วนด้านการประมงนั้น มีทั้งการประมงน้ำเค็ม น้ำกร่อย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง และการประมงน้ำจืด
อุตสาหกรรม
ทางด้านอุตสาหกรรมนั้น
ส่วนใหญ่จะเป็นอุตสาหกรรมที่ต่อเนื่องจากผลผลิตทางเกษตรกรรม เช่น
อุตสาหกรรมปลาป่น อาหารทะเลแช่แข็ง อาหารทะเลกระป๋อง น้ำมันปาล์มดิบ
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับยางพารา
ซึ่งในจังหวัดมีจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 730 โรงงาน
ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีมากที่สุด
นอกจากนี้ ยังมีการให้สัมปทานเหมืองแร่ โดยแร่ที่สำคัญในจังหวัด ได้แก่ ยิบซั่ม โดโลไมต์ แอนไฮโครต์ หินปูน ดินขาว และบอลเคลย์
สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานีไม่ได้รวมอยู่ในบริเวณศาลากลาง
จังหวัดสุราษฎร์ แต่จะตั้งอยู่บริเวณถนนตลาดใหม่ ระหว่างซอย 7 และซอย 9
ถัดไปจากที่ว่าการอำเภอเมืองฯ เพียงเล็กน้อย
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า และแข่งขันเรือยาว
ประเพณีชักพระทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวของจังหวัดสุราษฏร์ธานี
ที่นี่มีอีกชื่อหนึ่งก็คืองานเดือนสิบเอ็ด
ซึ่งก็เป็นเวลาเดียวกับเทศกาลออกพรรษา
กิจกรรมที่สำคัญได้แก่การประกวดเรือพระ ซึ่งจะมีทั้งรถพนมพระ และเรือพนมพระ
ซึ่งรถและเรือพนมพระ อาจจะตกแต่งประดับประดาด้วยการแกะสลัก หรือฉลุไม้
ตกแต่งจำลอง เสมือนฉากที่พระพุทธเจ้ากลับมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึง
ในงานพิธีจะใช้คนลาก
เชื่อว่าผู้ที่ได้ร่วมลากจูงรถหรือเรือพนมพระจะได้อานิสสงค์หลายประการ
การจัดพุ่มผ้าป่าเป็นการจำลองพุทธประวัติของพระพุทธเจ้าแสดงออกเป็นตอนๆ
ด้วยการนำต้นไม้หรือกิ่งไม้ ประดับกับหลอดไฟสีต่างๆ
บ้างก็จะจัดอุปกรณ์อื่นร่วมประกอบฉาก ทั้งการเขียนภาพ ปั้นรูปดินเหนียว
อุปกรณ์ประกอบฉากจะไม่นิยมนำสิ่งมีชีวิตเช่นปลาสวยงาม เต่า
หรือสัตว์เลี้ยงชนิดหนึ่งชนิดไดมาจัดประกอบฉาก
เพราะเชื่อว่าเป็นการทรมานสัตว์ และจะไม่ได้รับอานิสสงค์
และตกแต่งด้วยเครื่อง อัฐบริขาร
เพื่อในเช้าวันรุ่งของวันออกพรรษาจะได้นิมนต์พระมาทำพิธีทอดผ้าป่า
การจัดพุ่มผ้าป่ามีทั้งหน่วยงานในจังหวัด ทังภาครัฐและเอกชน
เข้าร่วมกิจกรรม
และมีการประกวดกันด้วยงานประเพณีนี้จัดขึ้นบริเวณเขื่อนลำนำตาปีตั้งแต่
บริเวณศาลหลักเมืองจนกระทั่งถึงโรงแรมวังใต้
ขึ้นอยู่กับจังหวัดสุราษฎร์ธานีว่าในแต่ละปีจะเลือกเอาบริเวณใด
ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า และแข่งขันเรือยาว ซึ่งจัดได้ว่าเป็นงานใหญ่งานหนึ่งของภาคใต้
งานวันเงาะโรงเรียน
ผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ เงาะโรงเรียน
เงาะมีความแตกต่างจากเงาะที่อื่น คือ หวาน และกรอบ
ซึ่งนับเป็นความภูมิใจหนึ่งของชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดังนั้น
เพื่อเป็นการแสดงถึงความภาคภูมิใจดังกล่าวจังหวัดสุราษฎร์ธานีจึงจัดให้มี
การนำผลผลิตจากเงาะโรงเรียนและผลผลิตอื่น ๆ มาจำหน่ายและตั้งชื่อว่า งานวันเงาะโรงเรียน โดยจะจัดขึ้นประมาณต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี
การละเล่นพื้นบ้าน
การละเล่นพื้นบ้านของจังหวัด อาทิเช่น
การละเล่นเด็ก ได้แก่ จุ้มจี้ จี้จิบ ลูกหวือ ชักลูกยาง ทองสูง กบกับ หมากโตน บอกโผละ ลูกฉุด ทอยหลุม เหยก เตย และหมากขุม
การละเล่นผู้ใหญ่ ได้แก่ เพลงชักพระอำเภอเกาะพะงัน เพลงบอก เพลงนา คำตัด ลิเกป่า มโนห์รา และหนังตะลุง
อาหารพื้นบ้าน
ได้แก่ ผัดไทยไชยาและผัดไทยท่าฉาง โดยมีความแตกต่างกับผัดไทยภาคกลาง
ที่ใส่น้ำกระทิ มีรสเผ็ดเล็กน้อย อาจจะใส่ เต้าหู้
หรือกุ้งเป็นเครื่องเคียงด้วยก็ได้ทานพร้อมผัก ประเภทแกง แกงเหลือง
แกงส้มอ้อดิบ ผัดสะตอใส่กะปิ แกงหมูกับลูกเหรียงเห็ดแครงปิ้งสาหร่ายข้อ
แกงป่า ยำปลาเม็ง (เฉพาะที่อำเภอบ้านนาเดิมและอำเภอบ้านนาสาร) โล้งโต้ง
(เฉพาะที่สุราษฎร์ธานี) ประเภทน้ำพริก น้ำพริกกะปิ น้ำพริกมุงมัง
น้ำพริกตะลิงปิง น้ำพริกปลาทู ประเภทอาหารทะเล
เนื่องจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ขึ้นชื่อเรื่องหอยนางรมที่มีขนาดใหญ่และสดแล้ว ยังมีหอยหวาน
ที่มีรสชาติดีเช่นกัน แล้วยังมีกุ้งแม่น้ำตาปีด้วย
การคมนาคม
ระยะทางจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีไปยังจังหวัดใกล้เคียง โดยประมาณ คือ
จังหวัดชุมพร 192 กิโลเมตร
จังหวัดระนอง 219 กิโลเมตร
จังหวัดนครศรีธรรมราช 139 กิโลเมตร
จังหวัดพังงา 196 กิโลเมตร
สถานีขนส่งหลักที่สำคัญ
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
สถานีขนส่งสุราษฎร์ธานี
ท่าเทียบเรือนอน ไปเกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า
ท่าเทียบเรือนอนเฟอร์รี่ ไปเกาะเต่า
อำเภอพุนพิน
สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานีท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานี
อำเภอเกาะสมุย
ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย
ท่าเทียบเรือราชาเฟอร์รี่ ตำบลตลิ่งงาม
ท่าเทียบเรือซีทรานเฟอร์รี่ หน้าทอน
ท่าเทียบเรือเกาะสมุย หน้าทอน
ท่าเทียบเรือหน้าพระลาน แม่น้ำ
ท่าเทียบเรือบางรัก
อำเภอดอนสัก
ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ดอนสัก (แหลมทวด)
ท่าเทียบเรือราชาเฟอร์รี่
ท่าเทียบเรือซีทรานเฟอร์รี่
โครงการศึกษาความเป็นไปได้ และการสำรวจออกแบบเบื้องต้น ท่าอากาศยานนานาชาติดอนสัก
อำเภอเกาะพะงัน
ท่าเทียบเรือท้องศาลา
ท่าเทียบเรือเกาะเต่า
สถานที่สำคัญ
วัดถ้ำสิงขร
พระบรมธาตุไชยา
วัดแก้ว
พระอารามหลวง
วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร อำเภอไชยา
วัดธรรมบูชา อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
วัดไตรธรรมาราม อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
วัดพัฒนาราม อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
สถานที่ท่องเที่ยว
อำเภอกาญจนดิษฐ์
วัดคูหา
วัดเขาพระนิ่ม
สถานที่ฝึกลิง
ฟาร์มหอยนางรม
ต้นยางใหญ่
วัดวังไทร
อำเภอพุนพิน
กองบิน 7
สหกรณ์สุราษฎร์ธานี
วัดเขาศรีวิชัยสวนน้ำพุร้อนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา (บ่อน้ำพุร้อนท่าสะท้อน)
อำเภอเกาะสมุย
เกาะแตน
เกาะสมุย
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
อำเภอเกาะพะงัน
หาดท้องนายปาน
หาดริ้น
Full Moon Party
อำเภอวิภาวดี
น้ำตกวิภาวดี
อำเภอดอนสัก
วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์
น้ำตกบ้านใน
อำเภอบ้านนาสาร
ถ้ำขมิ้น
น้ำตกดาดฟ้า
น้ำตกเหมืองทวด
อำเภอบ้านตาขุน
เขื่อนรัชชประภา
เหตุการณ์สำคัญ
ศาลากลางจังหวัดสุราษฏร์ธานีถูกลอบวางระเบิด
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2525
ประมาณเที่ยงถึงบ่ายโมงเกิดเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนใจชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่สำคัญ คือ การระเบิดศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จากเหตุการความขัดแย้งทางการเมือง
ศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานีเดิมตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำตาปี ปัจจุบัน
เป็นที่ตั้งของศาลหลักเมือง
อื่น ๆ
เรือยาวใหญ่ นาม "เจ้าแม่ตาปี" และเรือยาวกลาง นาม "เจ้าแม่ธารทิพย์"
ชนะเลิศการแข่งขันเรือยาวชิงแชมป์ประเทศไทยถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว ในปีเดียวกัน
พายุไต้ฝุ่นเกย์ถล่มจังหวัด
การสร้างศาลหลักเมืองประจำจังหวัด
เครื่องบินตกที่สนามบินสุราษฎร์
การรื้อสัมปทานเรือข้ามฟากสุราษฏร์ธานีเกาะสมุย
มติชาวสุราษฎร์ ห้ามปลุกเสกจตุคาม ณ วัดพระธาตุไชยา
Culture
The two most important Buddhist monasteries of the province are both located in Chaiya district. Phra Boromathat Chaiya is highlighted by the chedi
in Srivijaya style, dating back from the 7th century but elaborately
restored. Buddha relics are enshrined in the chedi, in the surrounding
chapels are several Buddha statues in Srivijaya style. Adjoining the
temple is the Chaiya national museum.
Also nearby is Wat Suan Mokkhaphalaram, a forest monastery founded by the famous monk Buddhadasa Bhikkhu.
Festivals
Chak Phra Festival. When Buddha return to earth from heaven and was greeted by crowd.Chak Phra
annually take place immediately after the end of 3 month rain retreat
about October. It is celebrate in many south but in Surat Thani is the
biggest. It is Chak Phra Festivals on land and on the Tapi River.Before
Chak Phra Day, on the night there are build the screen of Buddha's
story around the city and celebrate its all day all night. On land, the
splendidly adorned floats are pulled across the town by the
participants. At the same time, on water a float decorated in colorful
Thai design of a float made to carry the Buddha image. Chak Phra Festivals then concludes with and exciting boat race and treaditional game.
Rambutan
and Thai Fruits Festivals. The rambutan trees were first planted in
Surat Thani in 1926 by the Chinese Malay Mr. K. Vong in Ban Na San. An
annual rambutan fair is held during August harvest time.
Boon Sad Dean Sib Festival (Southern Traditional). It is held on the full moon of the 10th
month in traditional calendar (about August). Many people will go to
the temple and remember for the ancestor. Friend and relations will come
back home and go to temple altogether. Traditional people can make
sweetmeat for this festival.
Surat thani Songkran festival. Thai New Year
(water festival) @surat Thani is celebrated every year on 13 April at
Bandon bay street and around the town and Ko Samui is celebrated on
13–15 April at chaweng beach lamai beach and around the island street.
Surat Thani Loy Krathong Festival on the Tapi River.It
is held on the full moon of the 12th month in the traditional Thai
lunar calendar. In the western calendar this usually falls in November.
During the night of the full moon, many people will release a raft like
this on a river.
Bull Fighting (กีฬาชนวัว) This ancient popular sport on Ko Samui was
once held on large undecorated terrain in coconut fields or farms. Now,
permanent stadiums in various districts take turns hosting the monthly
bull fighting.
Symbols
The seal of the province shows the pagoda of Phra Boromathat Chaiya,
which is believed to have been built 1200 years ago. The flag of the
province also shows the pagoda in middle, placed on a vertically split
flag with red color in top and yellow in bottom.
The provincial symbolic flower is the Bua Phut (Rafflesia kerrii), a parasitic plant with one of the biggest flowers of all plants. The provincial tree is the Ton Kiam (Cotylelobium melanoxylon).
The provincial slogan is เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ ชักพระประเพณี, which translates to City of 100 islands, delicious rambutan, big shells and red eggs, center of Buddhism. Red eggs are a local culinary speciality of pickled duck eggs, while the big shells refer to the plenty of seafood available. Center of Buddhism refers to the pagoda of Chaiya.Chak Phra Festivals
Tourism
Mueng Surat Thani
TaladSanjoa
(ตลาดศาลเจ้า)is the food walk street The night market has some great
food vendors and many fantastic food. Next to the Sahathai department
store have fast food there is a Pizza Company outlet, a Swensens
ice-cream, minimart, Super Market and coffee café. In the evening hours
there are also some food stalls there, however the night market
concentrates at a sidestreet next to Wat Sai.
Recommened Food in TaladSanjoa(ตลาดศาลเจ้า) and Surat Thani
Pad Thai Chaiya(ผัดไทไชยา)Thai noodle in Surat Thani Style with Sea
Food. Kanomjean(ขนมจีน)white noodle with cerry Thaifruit Thai Crips and
Thai Dessert
Tricycles
Tricycles have no motor. You can take it and have tricycles driver to ride.
Night Bandon pier(ท่าเรือกลางคืน)is thai fruit walk street and food.
Surat Thani City Pillar Shrine(ศาสหลีกเมือง) (Srivijaya style) It is a beautiful Thai art style place and centre of the city.
Si Surat Stupa(พระธาตุศรีสุราษฎร์) Pra tad sri surat appoint
on Khao Tha Phet(เขาท่าเพชร)(thapech hills) is a hill near the town of
Surat Thani. The hill has an altitude of about 210 m (689 ft) above sea
level and offers a good view over the town Surat Thani. On top of the
hill is the Si Surat stupa (also known by its common name Phra That Khao
Tha Phet), which was built in Srivijavan style in 1957. The stupa
contains a Buddha relic donated by India. Next to the stupa is a Sweet
Shorea tree (Shorea roxburghii) planted by King Bhumibol Adulyadej. 6
kilometres south of the provincial capital along Highway 4009 (Surat
Thani - Na San) and 1.5 kilometres along the access road, this centre is
located on a hill called Khao Tha Phet and covers an area of 4.65
square kilometres. The designated trail allows visitors to see some
rarely-seen trees and to take a close look at the levels of soil,
sandstone, and dry evergreen forest. The hilltop, some 200 metres above
sea level, offers commanding panoramic views of Surat Thani town and the
Tapi River. Phrathat Si Surat, a candle-like stupa on the hill, was
built in 1957 and contains Lord Buddha’s relics donated by the Indian
government.
Nai Bang Area (ในบาง) Nai Bang is an alluvial plain around the
mouth of the Tapi River which is crisscrossed with networks of canals.
The canals are lined with mangrove forest alternating with traditional
southern-styled houses, behind which are coconut farms and orchards. The
people here still maintain a simple way of life and make their living
on indigenous natural resources, despite the bustling economy in the Ban
Don (town) market just opposite the river. Access to Nai Bang is by the
bridge across the Tapi River or by long-tail boat from Ban Don. The
boat can carry 6 – 8 people and charges 250 baht per hour. Visitors may
contact the travel agents in Surat Thani which sell a one-day package
tour to the Nai Bang area. If u can see the light iseect, can do trip on
the night.
Tapee River Dinner Have romantic dinner on the boat in Tapi
River to see Tapi River view, entrane Tapi River to the sea or see view
beside the river in restaurant.
Ko Lamphu (เกาะลำพู)
is a small car-free island in the river Tapi. It is connected by bridge
to the city at the city pillar shrine. Ko Lamphu is a popular place for
picnic as well as for sports. A nice view is the riverfront, built as a
promenade.
There are several Buddhist as well as Chinese temples within the
city, however none really notable. To the north is the Roman Catholic
St. Raphael Cathedral, actually a small wooden church.
Ko Samui
Ko Pha-ngan with the beautifil beaches of Chalok lam Bay, Ban Khai, Haad Son, Haad Yao, Bootle Beach and Haad Rin - The full Moon party location.
Chaiya
Phanom and Ban Ta Khun
Sights
Nai Bang Area (ในบาง) Nai Bang is an alluvial plain
around the mouth of the Tapi River which is crisscrossed with networks
of canals. The canals are lined with mangrove forest alternating with
traditional southern-styled houses, behind which are coconut farms and
orchards.
Khao Tha Phet Nature and Wildlife Study Centre (สถานีพัฒนาและส่งเสริมอนุรักษ์สัตว์ป่าเขาท่าเพชร)
This centre is located on a hill called Khao Tha Phet. The hilltop
offers commanding panoramic views of Surat Thani town and the Tapi
River. Phrathat Si Surat, a candle-like stupa on the hill, contains Lord
Buddha's relics donated by the Indian government.
Monkey Schools (สถานที่ฝึกลิง) In the southern
provinces, monkeys work for humans in the harvesting of coconuts. Expert
climbers, they show quick skills that are a boon to farmers.
Oyster Farm (ฟาร์มหอยนางรม) Surat Thani people take so
much pride in their big and delicious oysters that they have become a
part of the province's motto. Most oysters are raised around the mouth
of Kradae and Than Thong canals.
Ban Khlong Sai Monkey Training Centre (ศูนย์ฝึกลิงบ้านคลองทราย) Located in front of Wat Ampharam, Mu 3, Tambon Khlong Sai, Amphoe Tha Chang, the centre trains monkeys to pick up coconuts.
Wat Suan Mokkhaphalaram (วัดสวนโมกขพลาราม) Suan Mokkh's
founder, the late Buddhadasa Bhikkhu, was highly respected both locally
and internationally. His 'back to basics' form of Buddhism, mirroring
that led by the Buddha's earliest disciples more than 2,500 years ago,
attracted many Buddhist monks and lay meditators from many countries.
Phra Borommathat Chaiya (พระบรมธาตุไชยา) Constructed
along Mahayana Buddhist's beliefs of the 7th Century, the great chedi is
reputedly the best preserved Srivijaya artwork in Thailand. The stone
chedi has 3 receding tiers, each of which are decorated with small
stupas. The Buddha's relics are enshrined inside the chedi.
Wat Wiang, Wat Kaeo and Wat Long (วัดเวียง วัดแก้ว และวัดหลง)
These 3 temples are supposedly contemporaries of Wat Phra Borommathat
Chaiya. The seated Buddha statue protected by naga, made in 1183, and a
sand stone, Chaiya-styled, Buddha statue were found at Wat Wiang. Wat
Kaeo and Wat Long have Chaiya-styled brick chedi on indented square
bases.
Phumriang Village (หมู่บ้านพุมเรียง) This Muslim
fishing village is famed for its hand-woven silk cloth in red, yellow
and black. Buddhist Thais in the village weave hats from leaves.
Namtok Vibhavadi (น้ำตกวิภาวดี) The petite waterfall enjoys bucolic surroundings and attracts a lot of local people during weekends.
Wat Khao Suwan Pradit (วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์) This
temple was founded by Luang Pho Choi, one of southern Thailand's most
revered Buddhist ecclesiastics. The hilltop 45-metre pagoda contains
Buddha relics and commands striking coastal views of Ban Don district.
Rock Fish Museum (พิพิธภัณฑ์ปลาหิน) This museum was
established in 1992 by Mr. Kitti Sin-udom, an old fisherman who spent
more than 10 years in stone carving work. More than 1,000 lifelike
sculptures of marine fish found in the gulf of Thailand are on display.
Khao Sok National Park (อุทยานแห่งชาติเขาสก) As part of
the largest moist evergreen forest in Southern Thailand, the park is
rich with diverse flora including certain families of lotus, white palm,
and fern. Khao Sok is also one of the best bird-watching spots in
Thailand. Attractions in the park include:
Ratchaprapha (Rajjaprabha) Dam - The complete of this
dam in 1988 gave birth to a huge inland lake of about 168 square
kilometres, which is adorned with hundreds of islands and islets.
Tham Nam Thalu – Much preparation is needed to visit this cave, as the trail is rather physically demanding.
Tang Nam – Streams chiseled across 2 ridges to create
this striking gorge. Many people came to pay respect to this place,
around which the venerable Buddhadasa Bhikkhu's ashes were traditionally
showered.
Namtok Than Sawan – This scenic waterfall is 3 kilometres from Tang Nam.
Namtok Sip Et Chan – This 11-leveled waterfall originates from Bang Len canal. The first level is largest and most picturesque.
San Yang Roi Trail – This 2-kilometre trail begins at
the park headquarters and runs along the mountain shoulder past streams,
waterfalls and moist evergreen forest. A trail to a rarely seen plant
called Bua Phut at Bang Luk Chang Mountain.
Khlong Phanom National Park (อุทยานแห่งชาติคลองพนม)
comprises high limestone mountains connected with Khao Sok National
Park. Attractions in the park include Kiriwong and Chong Yung waterfalls
and several caves full of stalactites and stalagmites.
Kaeng Krung National Park (อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง) Its
mountainous area is covered by fertile moist evergreen forests, where
some rare and endangered species such as tree-ferns can be found.
Attractions in the park include hot springs, Bang Hoi Waterfall and
Khlong Pa Waterfall.
Tai Rom Yen National Park (อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น)
The 425 - square kilometre - forest areas in Kanchanadit, Ban Na San and
Wiang Sa were designated National Park in 1991. The diluting mountains
of the Nakhon Si Thammarat Range are mostly covered with moist evergreen
forest and exotic and rare flora and fauna. Attractions in the park
include:
Namtok Tat Fa – The perennial 13-leveled waterfall is highest in Surat Thani. The 4th level is most attractive with its 80 metres high cliff.
Tham Khamin or Tham Men – Exotic stalagmites and
stalactites can be admired in this cave. The walkway is well lit and fit
with stairs when needed, to ensure maximum safety.
San Yen – The eastern range, about 40 kilometres long and 1,000-1,300 metres high is fertile with rare flora, fauna and wildlife.
Namtok Mueang Thuat – The 7-leveled waterfall has a large basin.
Local Products
Salted Eggs: Ducks in Chaiya eat mollusk, crab and fish
on the farm, which make their egg yolks particularly red. Eggs are
covered with soil mixed with salty water and husk.
Oysters: Surat Thani's oysters are well known for their size, cleanliness, taste, and smell.
Rambutan: Rambutan here is probably the best in Thailand, thanks to its sweet taste, crisp meat, big size, small seeds, and thin peel.
Phumriang Silk: are hand-woven products of a Muslim
village. The weavers here create their own patterns which are embossed
on the silk by shuttle looms.
ระหว่างมีเวลา ก็จัดเตรียมแนวทางสำหรับงานและการสื่อสารออนไลน์ให้มากขึ้น อย่างน้อยก็เพื่อรองรับอาเซียนที่กำลังจะมาถึง
** ข้อมูลทั้งหมดขอขอบคุณวิกิพีเดีย
สุราษฎร์ธานี Surat Thani
เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย
หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ
ผู้ว่าราชการ
นายฉัตรป้อง ฉัตรภูติ
(ตั้งแต่
พ.ศ. 2555)
พื้นที่
12,891.469 ตร.กม.(อันดับที่ 6)
ประชากร
1,023,288 คน (พ.ศ. 2555)(อันดับที่ 21)
ความหนาแน่น
79.38 คน/ตร.กม.(อันดับที่ 59)
ศูนย์ราชการ
ที่ตั้ง
ศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี ถนนดอนนก ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000
โทรศัพท์
(+66) 0 7727 2926
โทรสาร
(+66) 0 7728 2175
จังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า "สุราษฎร์" ใช้อักษรย่อ "สฎ" เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง
จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้
โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลายหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา
รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย
ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ
เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์มีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก
เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่นเกาะสมุย เกาะพะงัน และหมู่เกาะอ่างทอง
เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช
แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต
และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว
ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออก
เฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย
ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม
Surat Thani (often in short Surat, Thai: สุราษฎร์ธานี) former name Chaiya Province is the largest of the southern provinces (changwat) of Thailand, on the western shore of the Gulf of Thailand. Surat Thani means City of Good People, the title given to the city by King Vajiravudh (Rama VI).
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก
โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้
ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม
รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย
ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล
สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย
แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก
และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง
เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย
นอกจากนี้ ยังมีผลิตผล และผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวัด
ประวัติศาสตร์
จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นที่ตั้งของเมืองเก่า
เป็นศูนย์กลางของเมืองศรีวิชัย
มีหลักฐานแสดงถึงการตั้งรกรากและเส้นทางสายไหมในอดีต พื้นที่อ่าวบ้านดอนเจริญขึ้นจนเป็นอาณาจักรศรีวิชัยในช่วงหลังพุทธศตวรรษที่ 13 โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นเครื่องยืนยันความรุ่งเรืองในอดีต ภายหลังยังเชื่อว่า เมื่ออาณาจักรตามพรลิงก์หรือ
เมืองนครศรีธรรมราชมีความรุ่งเรืองมากขึ้นนั้น
เมืองไชยาก็เป็นหนึ่งในเมืองสิบสองนักษัตรของเมืองนครศรีธรรมราชด้วย
ชื่อว่า "เมืองบันไทยสมอ"
นอกจากนี้ในยุคใกล้เคียงกันนั้นยังพบความเจริญของเมืองที่เกิดขึ้นในบริเวณลุ่มแม่น้ำตาปี ได้แก่ เมืองเวียงสระ เมืองคีรีรัฐนิคม และเมืองท่าทอง
โดยเชื่อว่าเจ้าศรีธรรมาโศก
ผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราชนั้นอพยพย้ายเมืองมาจากเมืองเวียงสระ
เนื่องจากเป็นเมืองที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล รวมทั้งเกิดโรคภัยระบาด และเมื่อเมืองนครศรีธรรมราชเจริญรุ่งเรืองนั้น ได้ยกเมืองไชยา และเมืองท่าทอง เป็นเมืองสิบสองนักษัตรของตนด้วย
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งอู่เรื่อพระที่นั่งและเรือรบเพื่อใช้ในราชการที่อ่าวบ้านดอน ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงให้ย้ายที่ตั้งเมืองท่าทองมายังอ่าวบ้านดอน
(ซึ่งเป็นที่ตั้งของอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีในปัจจุบัน)
พร้อมทั้งยกฐานะให้เป็นเมืองจัตวา ขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร
และพระราชทานชื่อว่า "เมืองกาญจนดิษฐ์" โดยแต่งตั้งให้พระยากาญจนดิษฐ์บดีเป็นเจ้าเมืองดูแลการปกครอง
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้รวมเมืองกาญจนดิษฐ์ เมืองคีรีรัฐนิคม และเมืองไชยาเป็นเมืองเดียวกัน เรียกว่า "เมืองไชยา" ภายใต้สังกัดมณฑลชุมพร
เมื่อเมืองขยายใหญ่ขึ้น จึงมีการปรับเปลี่ยนการปกครองและขยายเมืองออกไป
มีการสร้างเมืองใหม่ขึ้นที่ อ่าวบ้านดอน ให้ชื่อเมืองใหม่ว่า อำเภอไชยา
และให้ชื่อเมื่องเก่าว่า "อำเภอพุมเรียง"
แต่เนื่องด้วยประชาชนยังติดเรียกชื่อเมืองเก่าว่า "อำเภอไชยา" ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานนามเมืองใหม่ที่บ้านดอนว่า "สุราษฎร์ธานี" และให้ชื่อเมืองเก่าว่า "อำเภอไชยา" และพระราชทานนามแม่น้ำตาปี ให้ในคราวเดียวกันนั้นเอง ซึ่งเป็นการตั้งชื่อตามแบบเมืองและแม่น้ำในประเทศอินเดียที่มีแม่น้ำตาปติไหลลงสู่ทะเลออกผ่านปากอ่าวที่เมือง สุรัฎร์
History
The area of Surat Thani was already inhabited in prehistoric times by Semang and Malayan tribes. Founded in the 3rd century, until the 13th century the Srivijaya kingdom dominated the Malay Peninsula. The city Chaiya
contains several ruins from Srivijaya times, and was probably a
regional capital of the kingdom. Some Thai historians even claim that it
was the capital of the kingdom itself for some time, but this is
generally disputed. Wiang Sa was another main settlement of that time.
After the fall of the Srivijaya it was divided into the cities (Mueang) Chaiya, Thatong (now Kanchanadit) and Khirirat Nikhom. While Chaiya was administrated directly from the capital, Thatong and Khirirat were controlled by the Nakhon Si Thammarat kingdom. In 1899 they were merged into one province named Chaiya. In 1915 also the court of the Monthon Chumphon was moved to Bandon, which received its new name Surat Thani on July 29, 1915 during a visit of King Vajiravudh
(Rama VI). The monthon was renamed to Surat accordingly. In 1926 it was
abolished and incorporated into monthon Nakhon Si Thammarat. In 1933
the monthon was dissolved, so the province became the first level
administrative subdivision.
The provincial administration was at first located in a building in
Tha Kham (Amphoe Phunphin). It was moved to the city of Surat Thani
directly at the shore of the Tapi river in World War II,
but when the Japanese invaded Thailand on December 8, 1941, and landed
in Surat Thani as well, the building caught fire during the short battle
and burned down. It was reopened in 1954. On March 19, 1982, it was
destroyed again by a bomb planted by communist rebels, killing 5 people.
A new building was built in the south of the city, the former site of
the provincial hall is now the city pillar shrine (Lak Mueang).
Administrative divisions
The province is subdivided into 19 districts (Amphoe), which are further subdivided into 131 subdistricts (tambon) and 1028 villages (muban).
Mueang Surat Thani
Kanchanadit
Don Sak
Ko Samui
Ko Pha-ngan
Chaiya
Tha Chana
Khiri Rat Nikhom
Ban Ta Khun
Phanom
Tha Chang
Ban Na San
Ban Na Doem
Khian Sa
Wiang Sa
Phrasaeng
Phunphin
Chai Buri
Vibhavadi
The province has one city (thesaban nakhon), 3 towns (thesaban mueang) and 24 subdistrict municipalities (thesaban tambon). The most important ones are the following 6 (complete list). There are also 109 tambon administrative authorities (TAO), responsible for the non-municipal areas.
Surat Thani City is also a center of the Surat Thani Metropolitan Area.
Population
Notes
1.
Surat Thani
เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
127,550
Capital of the province, Historic town, Tourism, Main bus station
2.
Ko Samui
เทศบาลเมืองเกาะสมุย
52,510
Tourism,
3.
Tha Kham
เทศบาลเมืองท่าข้าม
20,363
Main railway station, Airport.
4.
Na San
เทศบาลเมืองนาสาร
19,851
5.
Talat Chaiya
เทศบาลตำบลตลาดไชยา
12,955
Historic town.
6.
Don Sak
เทศบาลตำบลดอนสัก
11,357
Main port.
7.
Ko Pha-ngan
เทศบาลตำบลเกาะพะงัน
3,357
Tourism.
For the national elections, the province is subdivided into two
constituencies, both eligible to elect three members of parliament.
Geography
Provincial hall of Surat Thani
City pillar shrine in Surat Thani
Ruins of the Wat Kaew in Chaiya, dating from Srivijavan times
Neighboring provinces are (from north clockwise) Chumphon, Nakhon Si Thammarat, Krabi, Phang Nga and Ranong.
Geographically, the center of the province is the coastal plain of the Tapi river, mostly grassland interchanged with rubber tree and coconut plantings. In the west are limestone mountains of the Phuket range mostly covered with forests. The Khao Sok National Park is located in these mountains. To the east the hills of the Nakhon Si Thammarat (or Bantat) mountain range start to rise, protected in the Tai Rom Yen National Park. Many islands in the Gulf of Thailand belong to the district, including the tourist islands Ko Samui, Ko Pha-ngan and Ko Tao, as well as the Ko Ang Thong marine national park. The main rivers of the Surat Thani province are Tapi River and Phum Duang River, which join at the town Tha Kham shortly before they drain into the Bandon Bay. The delta of these rivers, locally known as Nai Bang
(ในบาง), is located directly north of the city Surat Thani. It consists
of several channels with small islands mostly covered by mangrove or orchards.
Further protected areas in the province are the Khlong Phanom and Kaeng Krung national park, Than Sadet-Ko Pha-Ngan marine national park, the non-hunting areas Khao Tha Phet and Nong Thung Thong and the wildlife sanctuaries Khlong Phraya, Khlong Saeng and Khlong Yan. The Hat Khanom - Mu Ko Thale Tai, which will contain a few small island south of Ko Samui, is currently in process of creation.
National park
Ko Ang Thong marine national park***
Khao Sok national park***
Khlong Phanom national park
Kaeng Krung national park
Than Sadet-Ko Pha-Ngan marine national park
Tai Rom Yen National Park
Economy
In the 2008 census, the province had a GPP of 132,637.3 million Baht (4,019.31 million US$) and GPP per capita of 134,427 (4,073.54 US$)[citation needed]
compared with a GPP of 122,398 million Baht (3,599.94 million US$) and
GPP per capita of 125,651 (3,695.62 US$) in the 2007 census, with a GPP
growth rate of 8.37% and per capita growth rate of 6.98%. The main
agricultural products of the province are coconut and rambutan. The coconuts are often picked from the tree by specially trained monkey, mostly Pig-tailed Macaques (Macaca nemestrina). The monkey school of late Somporn Saekhow
is the most famous training center for these monkeys. The rambutan
trees were first planted in Surat Thani in 1926 by the Chinese Malay Mr.
K. Vong in Ban Na San.
An annual rambutan fair is held in beginning of August, including a
parade of highly decorated floats on the Tapi river. Also rubber tree
planting are common in the province.
A notable local product is the hand-woven silk clothes from the
coastal village Phum Riang in Chaiya district. Chaiya is also the most
famous source of the red eggs, a local specialty. Ducks fed are with
crabs and fish, and the eggs are then preserved by salinating them in a
soil-salt mixture. Oysters from farms at the coast of Kanchanaburi
district are another local specialty.
Tourism is a major income at the four islands Ko Samui, Ko Pha Ngan, Ko Tao and Ko Ang Thong
Transportation
Rail
The province is crossed by the southern railway, with Surat Thani Railway Station located at Phunphin, about 15 km from downtown. A branch line to the west ends at Kirirat Nikhom Railway Station. It was originally planned to run to the coast next to the island of Phuket, but construction ended in 1956. In total there are 32 railway stations in Surat Thani province.
Road
Parallel to the railway in north-south direction runs the Asian Highway 2 (Thailand Route 41). The major road in east-west direction is Route 401 connecting Takua Pa with Nakhon Si Thammarat, and Route 44 in southwestern direction from Kanchanadit to Krabi.
Route 44 was built as part of the landbridge project connecting the
Gulf of Thailand with the Andaman Sea. Unlike other highways there are
no crossing intersections, the wide space between the two lanes is
reserved for pipeline and railway.
Air
Two regional airports are located in the province - Surat Thani International Airport in Phunphin and Samui Airport on Ko Samui. The Surat Thani International Airport is served by three airlines: Thai Airways International Thai AirAsia One-Two-Go Airlines from Don Mueang International Airport The Samui Airport is served by Bangkok Airways and Thai Airways International from Suvarnabhumi Airport, Hong Kong, Singapore, Kuala Lumpur, Phuket, Chiang Mai and Penang
Water
The islands Ko Samui und Ko Phan Ngan are connected with the mainland by ferries, which mostly start at Don Sak, while the ferries to Ko Tao start at Surat Thani or Ko Samui. (continued this page)
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ตราประจำจังหวัด คือ พระบรมธาตุไชยา ซึ่งมีศิลปะแบบศรีวิชัย ตั้งอยู่ ณ วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร โดยสร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 และเป็นสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วย
ต้นไม้ประจำจังหวัด ได้แก่ ต้นเคี่ยม (Cotylelobium melanoxylon)ตั้งอยู่อำเภอวิภาวดีดอกไม้ประจำจังหวัด ได้แก่ ดอกบัวผุด (Rafflesia kerrii) ตั้งอยู่อำเภอพนม
คำขวัญประจำจังหวัด ได้แก่ เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ
คำขวัญประจำจังหวัดในอดีต แต่งโดยพระเทพรัตนกวี (ก.ธรรมวร)
อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี: "สะตอวัดประดู่ พลูคลองยัน
ทุเรียนหวานมันคลองพระแสง ย่านดินแดงของป่า เคียนซาบ่อถ่านหิน
พุนพินมีท่าข้ามแม่น้ำตาปี ไม้แก้วดีเขาประสงค์ กระแดะดงลางสาด
สิ่งประหลาดอำเภอพนม เงาะอุดมบ้านส้อง จากและคลองในบาง ท่าฉางต้นตาล
บ้านนาสารแร่ ท่าทองอุแทวัดเก่า อ่าวบ้านดอนปลา ไชยาข้าว มะพร้าวเกาะสมุย"
ลักษณะรูปร่างของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ลักษณะรูปร่างของจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับ "ผีเสื้อที่กำลังกางปีกโบยบินอยู่"
เพลงประจำจังหวัด
สุราษฎร์ธานี รุ่งเรืองสมเมืองคนดี อีกธารตาปี นามพระธีรราชประทาน
เป็นแดนอุดมไม้ปลา มะพร้าวมาเนิ่นนาน เหล่าราษฎร์สุขศานต์
มุ่งมั่นขยันทำกิน มิ่งขวัญ ชาวเมือง มีองค์พระธาตุพุทธศาสน์ประเทือง
ถิ่นชนกตัญญูยิ่ง เมตตาอยู่อาจิณ ร่วมรักแผ่นดิน คนดี นี้ไชโย
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งและอาณาเขต
สภาพภูมิประเทศของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ และอันดับ 1 ของภาคใต้ โดยมีจังหวัดที่มีอาณาเขตติดกัน ดังนี้
ด้านเหนือ ติดกับจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร และอ่าวไทย
ด้านใต้ ติดกับจังหวัดกระบี่และจังหวัดนครศรีธรรมราช
ด้านตะวันออก ติดกับจังหวัดนครศรีธรรมราชและอ่าวไทย
ด้านตะวันตก ติดกับจังหวัดพังงา
โดยทะเลฝั่งอ่าวไทยนั้นมีชายฝั่งยาวประมาณ 156 กิโลเมตร โดยมีเกาะที่อยู่ภายใต้เขตการปกครองของจังหวัดฯ ได้แก่ เกาะสมุย เกาะพะงัน และหมู่เกาะอ่างทองและยังมีเกาะน้อยใหญ่อีกมากมาย จึงได้ชื่อว่าเมืองร้อยเกาะ เช่นเกาะนางยวน
ภูมิประเทศและภูมิอากาศ
จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่กว้างใหญ่ และมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย
ได้แก่ ภูมิประเทศแบบที่ราบชายฝั่งทะเล ที่ราบสูง
รวมทั้งภูมิประเทศแบบภูเขาซึ่งกินพื้นที่ของจังหวัดถึงร้อยละ 40
ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมีทิวเขาภูเก็ตทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ของจังหวัด และมีลุ่มน้ำที่สำคัญ คือ ลุ่มน้ำตาปี ไชยา ท่าทอง เป็นต้น
ด้านตะวันออกเป็นฝั่งทะเลอ่าวไทย และมีเกาะน้อยใหญ่ที่มีประชากรอาศัย ส่วนด้านตะวันตกมีลักษณะเป็นภูเขาสูง มีแม่น้ำสายสำคัญ คือ แม่น้ำตาปี
เนื่องจากทำเลที่ตั้งรวมถึงภูมิประเทศ จังหวัดสุราษฎร์ธานีจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย
รวมทั้งมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านอ่าวไทย ดังนั้น
จึงทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนยาวนานมาก
โดยกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมกราคม โดยจังหวัดสุราษฏร์ธานีมีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 21.16 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.51 องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 129.59 มิลลิเมตร
หน่วยการปกครอง
การปกครองส่วนภูมิภาค
จังหวัดสุราษฎร์ธานีแบ่งการปกครองออกเป็น 19 อำเภอ 131 ตำบล 1,028 หมู่บ้าน มีรายชื่ออำเภอดังนี้
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
อำเภอกาญจนดิษฐ์
อำเภอดอนสัก
อำเภอเกาะสมุย
อำเภอเกาะพะงัน
อำเภอไชยา
อำเภอท่าชนะ
อำเภอคีรีรัฐนิคม
อำเภอบ้านตาขุน
อำเภอพนม
อำเภอท่าฉาง
อำเภอบ้านนาสาร
อำเภอบ้านนาเดิม
อำเภอเคียนซา
อำเภอเวียงสระ
อำเภอพระแสง
อำเภอพุนพิน
อำเภอชัยบุรี
อำเภอวิภาวดี
รายพระนามและนามผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี
พระยาวรฤทธิ์ฤๅไชย
พระยาชุมพรบุรีศรีสมุทเขต
พระยาพิศาลสารเกษตร์
พระยาวิชิตภักดีศรีสุราษฎร์ธานินทร์
พระยาศรีมหาเกษตร
พระยาสุราษฎร์ธานี
พระบริบูรณ์วุฒิราษฎร์
หลวงสฤษฏสาราลักษณ์
หลวงอรรถกัลยาณวินิจ
นายชลอ จารุจินดา
หลวงเกษมประศาสน์
ขุนสำราษราษฎร์บริรักษ์
นายแม้น อรจันทร์
ขุนรัฐวุฒิวิจารณ์
นายเลื่อน ไขแสง
ขุนอักษรสารสิทธิ์
นายจันทร์ สมบูรณ์กุล
นายฉลอง รมิตานนท์
นายประพันธ์ ณ พัทลุง
นายพร บุญยะประสพ
นายคล้าย จิตพิทักษ์
นายอรุณ นาถะเดชะ
นายอนันต์ สงวนนาม
นายชลิต พิมลศิริ
นายกาจ รักษ์มณี
นายสนอง รอดโพธิ์ทอง
นายไสว ศิริมงคล
นายนิพนธ์ บุญญภัทโร
นายวิโรจน์ ราชรักษ์
นายดำริ วัฒนสิงหะ
นายอนุ สงวนนาม
นายประพัฒน์พงษ์ บำเพ็ญสิทธิ์
นายประยูร พรหมพันธุ์
นายปรีชา รักษ์คิด
นายนิเวศน์ สมสกุล
นายภุชงค์ รุ่งโรจน์
นายชาญชัย สุนทรมัฏฐ์
นายยงยุทธ ตะโกพร
ม.ล.ประทีป จรูญโรจน์
นายธีระ โรจนพรพันธุ์
นายวิจิตร วิชัยสาร
ดร.นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว
นายวินัย บัวประดิษฐ์
นายประชา เตรัตน์
นายดำริห์ บุญจริง
นายธีระยุทธ เอี่ยมตระกูล
นายเชิดศักดิ์ ชูศรี
นายฉัตรป้อง ฉัตรภูติ
ศูนย์ราชการในเขตจังหวัด
วิทยาลัยสารพัดช่างสุราษฎร์ธานี
สำนักงานจัดหางานจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวสุราษฎร์ธานี
สำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานประปาเขต4 สุราษฎร์ธานี
สำนักงานคลังจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานประมงจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศูนย์พัฒนาประมงน้ำจืดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางสุราษฎร์ธานี
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดสุราษฎร์ธานี
ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำสุราษฎร์ธานี
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์สำนักทางหลวงกระบี่(สุราษฎร์ธานี)
ศูนย์วิจัยพันธุ์ยาง สุราษฎร์ธานี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 11
โรงพยาบาลมะเร็งสุราษฎร์ธานี
เศรษฐกิจ
การเกษตร
การประกอบอาชีพประมง
ประชากรในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีรายได้ต่อหัวเฉลี่ย 138,034 บาท ต่อปี
โดยส่วนมากจะประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทำนา ทำสวน ทำไร่
โดยใช้ที่ดินเพื่อทำการเพาะปลูกประมาณ 45% ของพื้นที่ทั้งหมด
ซึ่งพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว เงาะ ทุเรียน และกาแฟ[16]
นอกจากนั้น ยังมีการเลี้ยงปศุสัตว์และการทำประมง โดยปศุสัตว์ที่นิยมเลี้ยงกันมาก เช่น โค กระบือ สุกร ไก่ แพะ โดยปศุสัตว์ที่มีมูลค่าผลผลิตมากที่สุด คือ โค สุกร ไก่ กระบือ และเป็ดตามลำดับ ส่วนด้านการประมงนั้น มีทั้งการประมงน้ำเค็ม น้ำกร่อย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง และการประมงน้ำจืด
อุตสาหกรรม
ทางด้านอุตสาหกรรมนั้น
ส่วนใหญ่จะเป็นอุตสาหกรรมที่ต่อเนื่องจากผลผลิตทางเกษตรกรรม เช่น
อุตสาหกรรมปลาป่น อาหารทะเลแช่แข็ง อาหารทะเลกระป๋อง น้ำมันปาล์มดิบ
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับยางพารา
ซึ่งในจังหวัดมีจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 730 โรงงาน
ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีมากที่สุด
นอกจากนี้ ยังมีการให้สัมปทานเหมืองแร่ โดยแร่ที่สำคัญในจังหวัด ได้แก่ ยิบซั่ม โดโลไมต์ แอนไฮโครต์ หินปูน ดินขาว และบอลเคลย์
สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานีไม่ได้รวมอยู่ในบริเวณศาลากลาง
จังหวัดสุราษฎร์ แต่จะตั้งอยู่บริเวณถนนตลาดใหม่ ระหว่างซอย 7 และซอย 9
ถัดไปจากที่ว่าการอำเภอเมืองฯ เพียงเล็กน้อย
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า และแข่งขันเรือยาว
ประเพณีชักพระทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวของจังหวัดสุราษฏร์ธานี
ที่นี่มีอีกชื่อหนึ่งก็คืองานเดือนสิบเอ็ด
ซึ่งก็เป็นเวลาเดียวกับเทศกาลออกพรรษา
กิจกรรมที่สำคัญได้แก่การประกวดเรือพระ ซึ่งจะมีทั้งรถพนมพระ และเรือพนมพระ
ซึ่งรถและเรือพนมพระ อาจจะตกแต่งประดับประดาด้วยการแกะสลัก หรือฉลุไม้
ตกแต่งจำลอง เสมือนฉากที่พระพุทธเจ้ากลับมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึง
ในงานพิธีจะใช้คนลาก
เชื่อว่าผู้ที่ได้ร่วมลากจูงรถหรือเรือพนมพระจะได้อานิสสงค์หลายประการ
การจัดพุ่มผ้าป่าเป็นการจำลองพุทธประวัติของพระพุทธเจ้าแสดงออกเป็นตอนๆ
ด้วยการนำต้นไม้หรือกิ่งไม้ ประดับกับหลอดไฟสีต่างๆ
บ้างก็จะจัดอุปกรณ์อื่นร่วมประกอบฉาก ทั้งการเขียนภาพ ปั้นรูปดินเหนียว
อุปกรณ์ประกอบฉากจะไม่นิยมนำสิ่งมีชีวิตเช่นปลาสวยงาม เต่า
หรือสัตว์เลี้ยงชนิดหนึ่งชนิดไดมาจัดประกอบฉาก
เพราะเชื่อว่าเป็นการทรมานสัตว์ และจะไม่ได้รับอานิสสงค์
และตกแต่งด้วยเครื่อง อัฐบริขาร
เพื่อในเช้าวันรุ่งของวันออกพรรษาจะได้นิมนต์พระมาทำพิธีทอดผ้าป่า
การจัดพุ่มผ้าป่ามีทั้งหน่วยงานในจังหวัด ทังภาครัฐและเอกชน
เข้าร่วมกิจกรรม
และมีการประกวดกันด้วยงานประเพณีนี้จัดขึ้นบริเวณเขื่อนลำนำตาปีตั้งแต่
บริเวณศาลหลักเมืองจนกระทั่งถึงโรงแรมวังใต้
ขึ้นอยู่กับจังหวัดสุราษฎร์ธานีว่าในแต่ละปีจะเลือกเอาบริเวณใด
ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า และแข่งขันเรือยาว ซึ่งจัดได้ว่าเป็นงานใหญ่งานหนึ่งของภาคใต้
งานวันเงาะโรงเรียน
ผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ เงาะโรงเรียน
เงาะมีความแตกต่างจากเงาะที่อื่น คือ หวาน และกรอบ
ซึ่งนับเป็นความภูมิใจหนึ่งของชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดังนั้น
เพื่อเป็นการแสดงถึงความภาคภูมิใจดังกล่าวจังหวัดสุราษฎร์ธานีจึงจัดให้มี
การนำผลผลิตจากเงาะโรงเรียนและผลผลิตอื่น ๆ มาจำหน่ายและตั้งชื่อว่า งานวันเงาะโรงเรียน โดยจะจัดขึ้นประมาณต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี
การละเล่นพื้นบ้าน
การละเล่นพื้นบ้านของจังหวัด อาทิเช่น
การละเล่นเด็ก ได้แก่ จุ้มจี้ จี้จิบ ลูกหวือ ชักลูกยาง ทองสูง กบกับ หมากโตน บอกโผละ ลูกฉุด ทอยหลุม เหยก เตย และหมากขุม
การละเล่นผู้ใหญ่ ได้แก่ เพลงชักพระอำเภอเกาะพะงัน เพลงบอก เพลงนา คำตัด ลิเกป่า มโนห์รา และหนังตะลุง
อาหารพื้นบ้าน
ได้แก่ ผัดไทยไชยาและผัดไทยท่าฉาง โดยมีความแตกต่างกับผัดไทยภาคกลาง
ที่ใส่น้ำกระทิ มีรสเผ็ดเล็กน้อย อาจจะใส่ เต้าหู้
หรือกุ้งเป็นเครื่องเคียงด้วยก็ได้ทานพร้อมผัก ประเภทแกง แกงเหลือง
แกงส้มอ้อดิบ ผัดสะตอใส่กะปิ แกงหมูกับลูกเหรียงเห็ดแครงปิ้งสาหร่ายข้อ
แกงป่า ยำปลาเม็ง (เฉพาะที่อำเภอบ้านนาเดิมและอำเภอบ้านนาสาร) โล้งโต้ง
(เฉพาะที่สุราษฎร์ธานี) ประเภทน้ำพริก น้ำพริกกะปิ น้ำพริกมุงมัง
น้ำพริกตะลิงปิง น้ำพริกปลาทู ประเภทอาหารทะเล
เนื่องจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ขึ้นชื่อเรื่องหอยนางรมที่มีขนาดใหญ่และสดแล้ว ยังมีหอยหวาน
ที่มีรสชาติดีเช่นกัน แล้วยังมีกุ้งแม่น้ำตาปีด้วย
การคมนาคม
ระยะทางจากจังหวัดสุราษฎร์ธานีไปยังจังหวัดใกล้เคียง โดยประมาณ คือ
จังหวัดชุมพร 192 กิโลเมตร
จังหวัดระนอง 219 กิโลเมตร
จังหวัดนครศรีธรรมราช 139 กิโลเมตร
จังหวัดพังงา 196 กิโลเมตร
สถานีขนส่งหลักที่สำคัญ
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
สถานีขนส่งสุราษฎร์ธานี
ท่าเทียบเรือนอน ไปเกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า
ท่าเทียบเรือนอนเฟอร์รี่ ไปเกาะเต่า
อำเภอพุนพิน
สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานีท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานี
อำเภอเกาะสมุย
ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย
ท่าเทียบเรือราชาเฟอร์รี่ ตำบลตลิ่งงาม
ท่าเทียบเรือซีทรานเฟอร์รี่ หน้าทอน
ท่าเทียบเรือเกาะสมุย หน้าทอน
ท่าเทียบเรือหน้าพระลาน แม่น้ำ
ท่าเทียบเรือบางรัก
อำเภอดอนสัก
ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ดอนสัก (แหลมทวด)
ท่าเทียบเรือราชาเฟอร์รี่
ท่าเทียบเรือซีทรานเฟอร์รี่
โครงการศึกษาความเป็นไปได้ และการสำรวจออกแบบเบื้องต้น ท่าอากาศยานนานาชาติดอนสัก
อำเภอเกาะพะงัน
ท่าเทียบเรือท้องศาลา
ท่าเทียบเรือเกาะเต่า
สถานที่สำคัญ
วัดถ้ำสิงขร
พระบรมธาตุไชยา
วัดแก้ว
พระอารามหลวง
วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร อำเภอไชยา
วัดธรรมบูชา อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
วัดไตรธรรมาราม อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
วัดพัฒนาราม อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
สถานที่ท่องเที่ยว
อำเภอกาญจนดิษฐ์
วัดคูหา
วัดเขาพระนิ่ม
สถานที่ฝึกลิง
ฟาร์มหอยนางรม
ต้นยางใหญ่
วัดวังไทร
อำเภอพุนพิน
กองบิน 7
สหกรณ์สุราษฎร์ธานี
วัดเขาศรีวิชัยสวนน้ำพุร้อนเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา (บ่อน้ำพุร้อนท่าสะท้อน)
อำเภอเกาะสมุย
เกาะแตน
เกาะสมุย
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
อำเภอเกาะพะงัน
หาดท้องนายปาน
หาดริ้น
Full Moon Party
อำเภอวิภาวดี
น้ำตกวิภาวดี
อำเภอดอนสัก
วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์
น้ำตกบ้านใน
อำเภอบ้านนาสาร
ถ้ำขมิ้น
น้ำตกดาดฟ้า
น้ำตกเหมืองทวด
อำเภอบ้านตาขุน
เขื่อนรัชชประภา
เหตุการณ์สำคัญ
ศาลากลางจังหวัดสุราษฏร์ธานีถูกลอบวางระเบิด
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2525
ประมาณเที่ยงถึงบ่ายโมงเกิดเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนใจชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่สำคัญ คือ การระเบิดศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จากเหตุการความขัดแย้งทางการเมือง
ศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานีเดิมตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำตาปี ปัจจุบัน
เป็นที่ตั้งของศาลหลักเมือง
อื่น ๆ
เรือยาวใหญ่ นาม "เจ้าแม่ตาปี" และเรือยาวกลาง นาม "เจ้าแม่ธารทิพย์"
ชนะเลิศการแข่งขันเรือยาวชิงแชมป์ประเทศไทยถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว ในปีเดียวกัน
พายุไต้ฝุ่นเกย์ถล่มจังหวัด
การสร้างศาลหลักเมืองประจำจังหวัด
เครื่องบินตกที่สนามบินสุราษฎร์
การรื้อสัมปทานเรือข้ามฟากสุราษฏร์ธานีเกาะสมุย
มติชาวสุราษฎร์ ห้ามปลุกเสกจตุคาม ณ วัดพระธาตุไชยา
Culture
The two most important Buddhist monasteries of the province are both located in Chaiya district. Phra Boromathat Chaiya is highlighted by the chedi
in Srivijaya style, dating back from the 7th century but elaborately
restored. Buddha relics are enshrined in the chedi, in the surrounding
chapels are several Buddha statues in Srivijaya style. Adjoining the
temple is the Chaiya national museum.
Also nearby is Wat Suan Mokkhaphalaram, a forest monastery founded by the famous monk Buddhadasa Bhikkhu.
Festivals
Chak Phra Festival. When Buddha return to earth from heaven and was greeted by crowd.Chak Phra
annually take place immediately after the end of 3 month rain retreat
about October. It is celebrate in many south but in Surat Thani is the
biggest. It is Chak Phra Festivals on land and on the Tapi River.Before
Chak Phra Day, on the night there are build the screen of Buddha's
story around the city and celebrate its all day all night. On land, the
splendidly adorned floats are pulled across the town by the
participants. At the same time, on water a float decorated in colorful
Thai design of a float made to carry the Buddha image. Chak Phra Festivals then concludes with and exciting boat race and treaditional game.
Rambutan
and Thai Fruits Festivals. The rambutan trees were first planted in
Surat Thani in 1926 by the Chinese Malay Mr. K. Vong in Ban Na San. An
annual rambutan fair is held during August harvest time.
Boon Sad Dean Sib Festival (Southern Traditional). It is held on the full moon of the 10th
month in traditional calendar (about August). Many people will go to
the temple and remember for the ancestor. Friend and relations will come
back home and go to temple altogether. Traditional people can make
sweetmeat for this festival.
Surat thani Songkran festival. Thai New Year
(water festival) @surat Thani is celebrated every year on 13 April at
Bandon bay street and around the town and Ko Samui is celebrated on
13–15 April at chaweng beach lamai beach and around the island street.
Surat Thani Loy Krathong Festival on the Tapi River.It
is held on the full moon of the 12th month in the traditional Thai
lunar calendar. In the western calendar this usually falls in November.
During the night of the full moon, many people will release a raft like
this on a river.
Bull Fighting (กีฬาชนวัว) This ancient popular sport on Ko Samui was
once held on large undecorated terrain in coconut fields or farms. Now,
permanent stadiums in various districts take turns hosting the monthly
bull fighting.
Symbols
The seal of the province shows the pagoda of Phra Boromathat Chaiya,
which is believed to have been built 1200 years ago. The flag of the
province also shows the pagoda in middle, placed on a vertically split
flag with red color in top and yellow in bottom.
The provincial symbolic flower is the Bua Phut (Rafflesia kerrii), a parasitic plant with one of the biggest flowers of all plants. The provincial tree is the Ton Kiam (Cotylelobium melanoxylon).
The provincial slogan is เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ ชักพระประเพณี, which translates to City of 100 islands, delicious rambutan, big shells and red eggs, center of Buddhism. Red eggs are a local culinary speciality of pickled duck eggs, while the big shells refer to the plenty of seafood available. Center of Buddhism refers to the pagoda of Chaiya.Chak Phra Festivals
Tourism
Mueng Surat Thani
TaladSanjoa
(ตลาดศาลเจ้า)is the food walk street The night market has some great
food vendors and many fantastic food. Next to the Sahathai department
store have fast food there is a Pizza Company outlet, a Swensens
ice-cream, minimart, Super Market and coffee café. In the evening hours
there are also some food stalls there, however the night market
concentrates at a sidestreet next to Wat Sai.
Recommened Food in TaladSanjoa(ตลาดศาลเจ้า) and Surat Thani
Pad Thai Chaiya(ผัดไทไชยา)Thai noodle in Surat Thani Style with Sea
Food. Kanomjean(ขนมจีน)white noodle with cerry Thaifruit Thai Crips and
Thai Dessert
Tricycles
Tricycles have no motor. You can take it and have tricycles driver to ride.
Night Bandon pier(ท่าเรือกลางคืน)is thai fruit walk street and food.
Surat Thani City Pillar Shrine(ศาสหลีกเมือง) (Srivijaya style) It is a beautiful Thai art style place and centre of the city.
Si Surat Stupa(พระธาตุศรีสุราษฎร์) Pra tad sri surat appoint
on Khao Tha Phet(เขาท่าเพชร)(thapech hills) is a hill near the town of
Surat Thani. The hill has an altitude of about 210 m (689 ft) above sea
level and offers a good view over the town Surat Thani. On top of the
hill is the Si Surat stupa (also known by its common name Phra That Khao
Tha Phet), which was built in Srivijavan style in 1957. The stupa
contains a Buddha relic donated by India. Next to the stupa is a Sweet
Shorea tree (Shorea roxburghii) planted by King Bhumibol Adulyadej. 6
kilometres south of the provincial capital along Highway 4009 (Surat
Thani - Na San) and 1.5 kilometres along the access road, this centre is
located on a hill called Khao Tha Phet and covers an area of 4.65
square kilometres. The designated trail allows visitors to see some
rarely-seen trees and to take a close look at the levels of soil,
sandstone, and dry evergreen forest. The hilltop, some 200 metres above
sea level, offers commanding panoramic views of Surat Thani town and the
Tapi River. Phrathat Si Surat, a candle-like stupa on the hill, was
built in 1957 and contains Lord Buddha’s relics donated by the Indian
government.
Nai Bang Area (ในบาง) Nai Bang is an alluvial plain around the
mouth of the Tapi River which is crisscrossed with networks of canals.
The canals are lined with mangrove forest alternating with traditional
southern-styled houses, behind which are coconut farms and orchards. The
people here still maintain a simple way of life and make their living
on indigenous natural resources, despite the bustling economy in the Ban
Don (town) market just opposite the river. Access to Nai Bang is by the
bridge across the Tapi River or by long-tail boat from Ban Don. The
boat can carry 6 – 8 people and charges 250 baht per hour. Visitors may
contact the travel agents in Surat Thani which sell a one-day package
tour to the Nai Bang area. If u can see the light iseect, can do trip on
the night.
Tapee River Dinner Have romantic dinner on the boat in Tapi
River to see Tapi River view, entrane Tapi River to the sea or see view
beside the river in restaurant.
Ko Lamphu (เกาะลำพู)
is a small car-free island in the river Tapi. It is connected by bridge
to the city at the city pillar shrine. Ko Lamphu is a popular place for
picnic as well as for sports. A nice view is the riverfront, built as a
promenade.
There are several Buddhist as well as Chinese temples within the
city, however none really notable. To the north is the Roman Catholic
St. Raphael Cathedral, actually a small wooden church.
Ko Samui
Ko Pha-ngan with the beautifil beaches of Chalok lam Bay, Ban Khai, Haad Son, Haad Yao, Bootle Beach and Haad Rin - The full Moon party location.
Chaiya
Phanom and Ban Ta Khun
Sights
Nai Bang Area (ในบาง) Nai Bang is an alluvial plain
around the mouth of the Tapi River which is crisscrossed with networks
of canals. The canals are lined with mangrove forest alternating with
traditional southern-styled houses, behind which are coconut farms and
orchards.
Khao Tha Phet Nature and Wildlife Study Centre (สถานีพัฒนาและส่งเสริมอนุรักษ์สัตว์ป่าเขาท่าเพชร)
This centre is located on a hill called Khao Tha Phet. The hilltop
offers commanding panoramic views of Surat Thani town and the Tapi
River. Phrathat Si Surat, a candle-like stupa on the hill, contains Lord
Buddha's relics donated by the Indian government.
Monkey Schools (สถานที่ฝึกลิง) In the southern
provinces, monkeys work for humans in the harvesting of coconuts. Expert
climbers, they show quick skills that are a boon to farmers.
Oyster Farm (ฟาร์มหอยนางรม) Surat Thani people take so
much pride in their big and delicious oysters that they have become a
part of the province's motto. Most oysters are raised around the mouth
of Kradae and Than Thong canals.
Ban Khlong Sai Monkey Training Centre (ศูนย์ฝึกลิงบ้านคลองทราย) Located in front of Wat Ampharam, Mu 3, Tambon Khlong Sai, Amphoe Tha Chang, the centre trains monkeys to pick up coconuts.
Wat Suan Mokkhaphalaram (วัดสวนโมกขพลาราม) Suan Mokkh's
founder, the late Buddhadasa Bhikkhu, was highly respected both locally
and internationally. His 'back to basics' form of Buddhism, mirroring
that led by the Buddha's earliest disciples more than 2,500 years ago,
attracted many Buddhist monks and lay meditators from many countries.
Phra Borommathat Chaiya (พระบรมธาตุไชยา) Constructed
along Mahayana Buddhist's beliefs of the 7th Century, the great chedi is
reputedly the best preserved Srivijaya artwork in Thailand. The stone
chedi has 3 receding tiers, each of which are decorated with small
stupas. The Buddha's relics are enshrined inside the chedi.
Wat Wiang, Wat Kaeo and Wat Long (วัดเวียง วัดแก้ว และวัดหลง)
These 3 temples are supposedly contemporaries of Wat Phra Borommathat
Chaiya. The seated Buddha statue protected by naga, made in 1183, and a
sand stone, Chaiya-styled, Buddha statue were found at Wat Wiang. Wat
Kaeo and Wat Long have Chaiya-styled brick chedi on indented square
bases.
Phumriang Village (หมู่บ้านพุมเรียง) This Muslim
fishing village is famed for its hand-woven silk cloth in red, yellow
and black. Buddhist Thais in the village weave hats from leaves.
Namtok Vibhavadi (น้ำตกวิภาวดี) The petite waterfall enjoys bucolic surroundings and attracts a lot of local people during weekends.
Wat Khao Suwan Pradit (วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์) This
temple was founded by Luang Pho Choi, one of southern Thailand's most
revered Buddhist ecclesiastics. The hilltop 45-metre pagoda contains
Buddha relics and commands striking coastal views of Ban Don district.
Rock Fish Museum (พิพิธภัณฑ์ปลาหิน) This museum was
established in 1992 by Mr. Kitti Sin-udom, an old fisherman who spent
more than 10 years in stone carving work. More than 1,000 lifelike
sculptures of marine fish found in the gulf of Thailand are on display.
Khao Sok National Park (อุทยานแห่งชาติเขาสก) As part of
the largest moist evergreen forest in Southern Thailand, the park is
rich with diverse flora including certain families of lotus, white palm,
and fern. Khao Sok is also one of the best bird-watching spots in
Thailand. Attractions in the park include:
Ratchaprapha (Rajjaprabha) Dam - The complete of this
dam in 1988 gave birth to a huge inland lake of about 168 square
kilometres, which is adorned with hundreds of islands and islets.
Tham Nam Thalu – Much preparation is needed to visit this cave, as the trail is rather physically demanding.
Tang Nam – Streams chiseled across 2 ridges to create
this striking gorge. Many people came to pay respect to this place,
around which the venerable Buddhadasa Bhikkhu's ashes were traditionally
showered.
Namtok Than Sawan – This scenic waterfall is 3 kilometres from Tang Nam.
Namtok Sip Et Chan – This 11-leveled waterfall originates from Bang Len canal. The first level is largest and most picturesque.
San Yang Roi Trail – This 2-kilometre trail begins at
the park headquarters and runs along the mountain shoulder past streams,
waterfalls and moist evergreen forest. A trail to a rarely seen plant
called Bua Phut at Bang Luk Chang Mountain.
Khlong Phanom National Park (อุทยานแห่งชาติคลองพนม)
comprises high limestone mountains connected with Khao Sok National
Park. Attractions in the park include Kiriwong and Chong Yung waterfalls
and several caves full of stalactites and stalagmites.
Kaeng Krung National Park (อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง) Its
mountainous area is covered by fertile moist evergreen forests, where
some rare and endangered species such as tree-ferns can be found.
Attractions in the park include hot springs, Bang Hoi Waterfall and
Khlong Pa Waterfall.
Tai Rom Yen National Park (อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น)
The 425 - square kilometre - forest areas in Kanchanadit, Ban Na San and
Wiang Sa were designated National Park in 1991. The diluting mountains
of the Nakhon Si Thammarat Range are mostly covered with moist evergreen
forest and exotic and rare flora and fauna. Attractions in the park
include:
Namtok Tat Fa – The perennial 13-leveled waterfall is highest in Surat Thani. The 4th level is most attractive with its 80 metres high cliff.
Tham Khamin or Tham Men – Exotic stalagmites and
stalactites can be admired in this cave. The walkway is well lit and fit
with stairs when needed, to ensure maximum safety.
San Yen – The eastern range, about 40 kilometres long and 1,000-1,300 metres high is fertile with rare flora, fauna and wildlife.
Namtok Mueang Thuat – The 7-leveled waterfall has a large basin.
Local Products
Salted Eggs: Ducks in Chaiya eat mollusk, crab and fish
on the farm, which make their egg yolks particularly red. Eggs are
covered with soil mixed with salty water and husk.
Oysters: Surat Thani's oysters are well known for their size, cleanliness, taste, and smell.
Rambutan: Rambutan here is probably the best in Thailand, thanks to its sweet taste, crisp meat, big size, small seeds, and thin peel.
Phumriang Silk: are hand-woven products of a Muslim
village. The weavers here create their own patterns which are embossed
on the silk by shuttle looms.